ประวัติลีนุกซ์
ประวัติของลีนุกซ์ ลีนุกซ์ถือกำเนิดขึ้นในฟินแลนด์ ปี คศ. 1980 โดยลีนุส โทรวัลด์ส (Linus Trovalds) นักศึกษาภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) ในมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ลีนุส เห็นว่าระบบมินิกซ์ (Minix) ที่เป็นระบบยูนิกซ์บนพีซีในขณะนั้น ซึ่งทำการพัฒนาโดย ศ.แอนดรูว์ ทาเนนบาวม์ (Andrew S. Tanenbaum) ยังมีความสามารถไม่เพียงพอแก่ความต้องการ จึงได้เริ่มต้นทำการพัฒนาระบบยูนิกซ์ของตนเองขึ้นมา โดยจุดประสงค์อีกประการ คือต้องการทำความเข้าใจในวิชาระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ด้วยเมื่อเขาเริ่มพัฒนาลีนุกซ์ไปช่วงหนึ่งแล้ว เขาก็ได้ทำการชักชวนให้นักพัฒนาโปรแกรมอื่นๆมาช่วยทำการพัฒนาลีนุกซ์ ซึ่งความร่วมมือส่วนใหญ่ก็จะเป็นความร่วมมือผ่านทางอินเทอร์เนต ลีนุสจะเป็นคนรวบรวมโปรแกรมที่ผู้พัฒนาต่างๆได้ร่วมกันทำการพัฒนาขึ้นมาและแจกจ่ายให้ทดลองใช้เพื่อทดสอบหาข้อบกพร่อง ที่น่าสนใจก็คืองานต่างๆเหล่านี้ผู้คนทั้งหมดต่างก็ทำงานโดยไม่คิดค่าตอบแทน และทำงานผ่านอินเทอร์เนตทั้งหมด ปัจจุบันเวอร์ชันล่าสุดของระบบลีนุกซ์ที่ได้ประกาศออกมาคือเวอร์ชัน 2.0.13 ข้อสังเกตในเรื่องเลขรหัสเวอร์ชันนี้ก็คือ ถ้ารหัสเวอร์ชันหลังทศนิยมตัวแรกเป็นเลขคู่เช่น 1.0.x,1.2.x เวอร์ชันเหล่านี้จะถือว่าเป็นเวอร์ชันที่เสถียรแล้วและมีความมั่นคงในระดับหนึ่ง แต่ถ้าเป็นเลขคี่เช่น 1.1.x, 1.3.x จะถือว่าเป็นเวอร์ชันทดสอบ ซึ่งในเวอร์ชันเหล่านี้จะมีการเพิ่มเติมความสามารถใหม่ๆลงไป และยังต้องทำการทดสอบหาข้อผิดพลาดต่างๆอยู่ ทำไมถึงต้องเป็นลีนุกซ์ ข้อความบางส่วนจากหนังสือ "Running Linux" ของ Matt Welsh and Lar Kaufman เนื่องจากเป็นระบบปฏิบัติการที่ฟรี คุณสามารถจะขอจากผู้ที่มีลีนุกซ์ หรือจะดาวน์โหลดจากอินเทอร์เนต หรือบีบีเอสได้โดยไม่ผิดกฏหมาย เนื่องจากมีผู้นิยมใช้มาก ทำให้มีผู้นำลีนุกซ์ไปแก้ไขให้สามารถใช้งานได้บนตัวประมวลผลกลางหลากหลายตั้งแต่อินเทล, โมโตโรลา, ดิจิตอลอัลฟา,พาวเวอร์พีซี, ไปจนถึง สปาร์คของซัน
ลีนุกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ ดอส ไมโครซอฟต์วินโดวส์ หรือยูนิกซ์ โดยลีนุกซ์นั้นจัดว่าเป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ประเภทหนึ่ง การที่ลีนุกซ์เป็นที่กล่าวขานกันมากขณะนี้ เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU's Not UNIX) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free Ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อโปรแกรม
ระบบลีนุกซ์ตั้งแต่เวอร์ชั่น 4 นั้น สามารถทำงานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือบนซีพียูของอิลเทล (PC Intel) ดิจิตอลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer) และซันสปาร์ค (SUN SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า RPM (Red Hat Package Management) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ไมโครซอฟต์ วินโดวส์ บนพีซีหรือแมคโอเอส (Mac OS) ได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนไม่น้อยที่หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กัน และเรื่องของการดูแลระบบลีนุกซ์นั้น ภายในระบบลีนุกซ์เองมีเครื่องมือช่วยสำหรับดำเนินการให้สะดวกยิ่งขึ้น
ประวัติของลีนุกซ์ ลีนุกซ์ถือกำเนิดขึ้นในฟินแลนด์ ปี คศ. 1980 โดยลีนุส โทรวัลด์ส (Linus Trovalds) นักศึกษาภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) ในมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ลีนุส เห็นว่าระบบมินิกซ์ (Minix) ที่เป็นระบบยูนิกซ์บนพีซีในขณะนั้น ซึ่งทำการพัฒนาโดย ศ.แอนดรูว์ ทาเนนบาวม์ (Andrew S. Tanenbaum) ยังมีความสามารถไม่เพียงพอแก่ความต้องการ จึงได้เริ่มต้นทำการพัฒนาระบบยูนิกซ์ของตนเองขึ้นมา โดยจุดประสงค์อีกประการ คือต้องการทำความเข้าใจในวิชาระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ด้วยเมื่อเขาเริ่มพัฒนาลีนุกซ์ไปช่วงหนึ่งแล้ว เขาก็ได้ทำการชักชวนให้นักพัฒนาโปรแกรมอื่นๆมาช่วยทำการพัฒนาลีนุกซ์ ซึ่งความร่วมมือส่วนใหญ่ก็จะเป็นความร่วมมือผ่านทางอินเทอร์เนต ลีนุสจะเป็นคนรวบรวมโปรแกรมที่ผู้พัฒนาต่างๆได้ร่วมกันทำการพัฒนาขึ้นมาและแจกจ่ายให้ทดลองใช้เพื่อทดสอบหาข้อบกพร่อง ที่น่าสนใจก็คืองานต่างๆเหล่านี้ผู้คนทั้งหมดต่างก็ทำงานโดยไม่คิดค่าตอบแทน และทำงานผ่านอินเทอร์เนตทั้งหมด ปัจจุบันเวอร์ชันล่าสุดของระบบลีนุกซ์ที่ได้ประกาศออกมาคือเวอร์ชัน 2.0.13 ข้อสังเกตในเรื่องเลขรหัสเวอร์ชันนี้ก็คือ ถ้ารหัสเวอร์ชันหลังทศนิยมตัวแรกเป็นเลขคู่เช่น 1.0.x,1.2.x เวอร์ชันเหล่านี้จะถือว่าเป็นเวอร์ชันที่เสถียรแล้วและมีความมั่นคงในระดับหนึ่ง แต่ถ้าเป็นเลขคี่เช่น 1.1.x, 1.3.x จะถือว่าเป็นเวอร์ชันทดสอบ ซึ่งในเวอร์ชันเหล่านี้จะมีการเพิ่มเติมความสามารถใหม่ๆลงไป และยังต้องทำการทดสอบหาข้อผิดพลาดต่างๆอยู่ ทำไมถึงต้องเป็นลีนุกซ์ ข้อความบางส่วนจากหนังสือ "Running Linux" ของ Matt Welsh and Lar Kaufman เนื่องจากเป็นระบบปฏิบัติการที่ฟรี คุณสามารถจะขอจากผู้ที่มีลีนุกซ์ หรือจะดาวน์โหลดจากอินเทอร์เนต หรือบีบีเอสได้โดยไม่ผิดกฏหมาย เนื่องจากมีผู้นิยมใช้มาก ทำให้มีผู้นำลีนุกซ์ไปแก้ไขให้สามารถใช้งานได้บนตัวประมวลผลกลางหลากหลายตั้งแต่อินเทล, โมโตโรลา, ดิจิตอลอัลฟา,พาวเวอร์พีซี, ไปจนถึง สปาร์คของซัน
ลีนุกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ ดอส ไมโครซอฟต์วินโดวส์ หรือยูนิกซ์ โดยลีนุกซ์นั้นจัดว่าเป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ประเภทหนึ่ง การที่ลีนุกซ์เป็นที่กล่าวขานกันมากขณะนี้ เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU's Not UNIX) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free Ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อโปรแกรม
ระบบลีนุกซ์ตั้งแต่เวอร์ชั่น 4 นั้น สามารถทำงานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือบนซีพียูของอิลเทล (PC Intel) ดิจิตอลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer) และซันสปาร์ค (SUN SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า RPM (Red Hat Package Management) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ไมโครซอฟต์ วินโดวส์ บนพีซีหรือแมคโอเอส (Mac OS) ได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนไม่น้อยที่หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กัน และเรื่องของการดูแลระบบลีนุกซ์นั้น ภายในระบบลีนุกซ์เองมีเครื่องมือช่วยสำหรับดำเนินการให้สะดวกยิ่งขึ้น
การนำลีนุกซ์มาใช้งาน
ปัจจุบันได้มีการนำระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ไปประยุกต์เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับงานด้านต่างๆเช่นงานด้านการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ใช้เป็นสถานีงาน สถานีบริการ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือใช้ใน การเรียนการสอนและการทำงิจัยทางคอมพิวเตอร์ใช้พัฒนาโปรแกรมเนื่องจาก มีเครื่องมือมากมาย เช่น โปรแกรมภาษาซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) ปาสคาล (Pascal) ฟอร์แทรน (Fortran) ลิสป์ (Lisp) โปรล็อก (Prolog) เอดา (ADA) มีภาษาสคริปต์ เช่น เชลล์ (Shell) บาสช์เชลล์ (Bash Shell) ซีเชลล์ (C Shell) คอร์นเชลล์ (Korn Shell) เพิร์ล (Perl) พายตัน (python) TCL/TK
นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมประยุกต์ในสาขาต่างๆ อีกมากมาย โดยข้อมูลของโปรแกรมเหล่านี้ได้รวบรวมไว้ที่ Linux Software Map (LSM)
ปัจจุบันได้มีการนำระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ไปประยุกต์เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับงานด้านต่างๆเช่นงานด้านการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ใช้เป็นสถานีงาน สถานีบริการ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือใช้ใน การเรียนการสอนและการทำงิจัยทางคอมพิวเตอร์ใช้พัฒนาโปรแกรมเนื่องจาก มีเครื่องมือมากมาย เช่น โปรแกรมภาษาซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) ปาสคาล (Pascal) ฟอร์แทรน (Fortran) ลิสป์ (Lisp) โปรล็อก (Prolog) เอดา (ADA) มีภาษาสคริปต์ เช่น เชลล์ (Shell) บาสช์เชลล์ (Bash Shell) ซีเชลล์ (C Shell) คอร์นเชลล์ (Korn Shell) เพิร์ล (Perl) พายตัน (python) TCL/TK
นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมประยุกต์ในสาขาต่างๆ อีกมากมาย โดยข้อมูลของโปรแกรมเหล่านี้ได้รวบรวมไว้ที่ Linux Software Map (LSM)
ตัวอย่างคำสั่ง (Command)
ยกตัวอย่างคำสั่งน่ารู้ในระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux
ยกตัวอย่างคำสั่งน่ารู้ในระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux
id แสดง ชื่อผู้ใช้คนปัจจุบัน
man แสดง คำอธิบายคำสั่ง เพื่อช่วยในการนำไปใช้
who แสดง ชื่อผู้ใช้ที่กำลัง online อยู่
pwd แสดง ชื่อ directory ปัจจุบัน
date แสดง วันที่ และเวลาปัจจุบัน
ps แสดง กระบวนการที่กำลังทำงานอยู่
ls แสดง รายชื่อแฟ้มใน directory ปัจจุบัน
mail แสดง ส่งอีเมล
sort แสดง จัดเรียงข้อมูลใน text file
clear แสดง ล้างจอภาพ
more แสดง ข้อมูลจาก text file แบบแยกหน้า
passwd แสดง เปลี่ยนรหัสผ่าน
cal แสดง ปฏิทิน
echo แสดง ตัวอักษร
talk แสดง สนทนากับผู้ใช้ในระบบ
cal แสดง ปฏิทิน
echo แสดง ตัวอักษร
talk แสดง สนทนากับผู้ใช้ในระบบ
Debian Linux
คือ ระบบปฎิบัติที่ตั้งแต่ขั้นตอนทำตัวติดตั้ง ปรับแต่งซอฟต์แวร์ ทำด้วยบุคคลที่เป็นอาสาสมัครล้วนๆ โดยมีคติว่า Debian จะฟรีตลอดไปและการพัฒนาก็จะเป็นไปอย่างเปิดเผย มีการเปิดให้ดาวน์โหลดโปรแกรมกันฟรี แต่ข้อเสียของ Debian ก็คือ การลง Debian นั้นยากมากมันเป็น Linux สำหรับพวกเซียนๆทั้งหลายที่ไม่อะไรทำ เพราะต้องมานั่งปรับเดสก์ทอปให้เหมาะกับการใช้งานเอง จากข้อเสียตรงนี้ทำให้มีหลายๆบริษัทเอาข้อเสียไปปรับแต่งให้ดีขึ้น ก็เป็นอะไรที่น่าใช้ไปอีกแบบหนึ่ง ข้อเด่นของ Debian ก็คือ โปรแกรมต่างๆสามารถที่จะติดตั้งได้โดย Download ได้จากเน็ทโดยอัตโนมัติ Ubuntu ทำการ Update โปรแกรมเหล่านี้ให้ทันสมัย โดยใช้ Concept เดียวกับ Debian แสดง ค้นหาตัวอักษรจาก text file
คือ ระบบปฎิบัติที่ตั้งแต่ขั้นตอนทำตัวติดตั้ง ปรับแต่งซอฟต์แวร์ ทำด้วยบุคคลที่เป็นอาสาสมัครล้วนๆ โดยมีคติว่า Debian จะฟรีตลอดไปและการพัฒนาก็จะเป็นไปอย่างเปิดเผย มีการเปิดให้ดาวน์โหลดโปรแกรมกันฟรี แต่ข้อเสียของ Debian ก็คือ การลง Debian นั้นยากมากมันเป็น Linux สำหรับพวกเซียนๆทั้งหลายที่ไม่อะไรทำ เพราะต้องมานั่งปรับเดสก์ทอปให้เหมาะกับการใช้งานเอง จากข้อเสียตรงนี้ทำให้มีหลายๆบริษัทเอาข้อเสียไปปรับแต่งให้ดีขึ้น ก็เป็นอะไรที่น่าใช้ไปอีกแบบหนึ่ง ข้อเด่นของ Debian ก็คือ โปรแกรมต่างๆสามารถที่จะติดตั้งได้โดย Download ได้จากเน็ทโดยอัตโนมัติ Ubuntu ทำการ Update โปรแกรมเหล่านี้ให้ทันสมัย โดยใช้ Concept เดียวกับ Debian แสดง ค้นหาตัวอักษรจาก text file
Ubuntu
คือ กลุ่มของคนที่พัฒนาระบบปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถนำไปใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งที่เป็นเครื่องแบบผู้ใช้งานทั่วไป (Client) หรือแบบเครื่องแม่ข่าย (Server) เหมาะกับผู้ใช้ตามบ้าน และโรงเรียนที่ไม่ต้องการมีค่าใช้จ่ายเรื่องซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ โดยมีการรวมเอาโปรแกรมประยุกต์ประเภทเวิร์ด หรือเพาเวอร์พอยต์ อินเทอร์เน็ต ไว้ด้วย
คือ กลุ่มของคนที่พัฒนาระบบปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถนำไปใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งที่เป็นเครื่องแบบผู้ใช้งานทั่วไป (Client) หรือแบบเครื่องแม่ข่าย (Server) เหมาะกับผู้ใช้ตามบ้าน และโรงเรียนที่ไม่ต้องการมีค่าใช้จ่ายเรื่องซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ โดยมีการรวมเอาโปรแกรมประยุกต์ประเภทเวิร์ด หรือเพาเวอร์พอยต์ อินเทอร์เน็ต ไว้ด้วย
KNOPPIX
คือ Linux ที่รันบนแผ่น CD เริ่มโดยการตั้ง Bios ให้บูตด้วยแผ่น CD เมื่อบูตเข้าไปแล้วตัว KNOPPIX ก็จะทำการรัน Linux ขึ้นมาใช้งานได้ในทันที โดยระบบของ KNOPPIX จะสามารถ Dectect การ์ดจอ การ์ดเสียงและอุปกรณ์ต่างๆ ได้ทันที เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ต้องการติดตั้ง Linux ลงบนเครื่อง แต่อยากลองใช้งาน ก็สามารถใช้ผ่าน CD Rom ได้
คือ Linux ที่รันบนแผ่น CD เริ่มโดยการตั้ง Bios ให้บูตด้วยแผ่น CD เมื่อบูตเข้าไปแล้วตัว KNOPPIX ก็จะทำการรัน Linux ขึ้นมาใช้งานได้ในทันที โดยระบบของ KNOPPIX จะสามารถ Dectect การ์ดจอ การ์ดเสียงและอุปกรณ์ต่างๆ ได้ทันที เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ต้องการติดตั้ง Linux ลงบนเครื่อง แต่อยากลองใช้งาน ก็สามารถใช้ผ่าน CD Rom ได้
RedHat Linux
เป็นลีนุกซ์ดิสทริบิวชั่นที่ ได้รับความนิยมสูงทั้งในอเมริกาและเมืองไทย จุดเด่นของ RedHat คือมีโปรแกรม RPM (RedHat Package Management) ช่วยติดตั้ง-ถอดแอพพลิเคชั่นต่างๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เวอร์ชัน 7.x ใช้เคอร์เนล 2.4.18 สามารถใช้งานภาษาไทยได้อย่างดี
เป็นลีนุกซ์ดิสทริบิวชั่นที่ ได้รับความนิยมสูงทั้งในอเมริกาและเมืองไทย จุดเด่นของ RedHat คือมีโปรแกรม RPM (RedHat Package Management) ช่วยติดตั้ง-ถอดแอพพลิเคชั่นต่างๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เวอร์ชัน 7.x ใช้เคอร์เนล 2.4.18 สามารถใช้งานภาษาไทยได้อย่างดี
Fedora
คือ Linux distribution ตัวหนึ่ง ที่ถูกพัฒนาต่อยอดมาจาก Redhat เวอร์ชั่น 9 Fedora ถูกพัฒนามาให้แตกต่างจาก Redhat โดย Fedora มีจุดมุ่งหมายที่จับกลุ่ม Desktop User ที่เน้นการทำงานที่ง่าย และเข้าใจไม่ยาก Fedora จะใช้ชื่อรุ่นของตัวเองว่าเป็น Core ซึ่งปัจจุบันก็ได้พัฒนามาถึง Core 4 แล้ว
คือ Linux distribution ตัวหนึ่ง ที่ถูกพัฒนาต่อยอดมาจาก Redhat เวอร์ชั่น 9 Fedora ถูกพัฒนามาให้แตกต่างจาก Redhat โดย Fedora มีจุดมุ่งหมายที่จับกลุ่ม Desktop User ที่เน้นการทำงานที่ง่าย และเข้าใจไม่ยาก Fedora จะใช้ชื่อรุ่นของตัวเองว่าเป็น Core ซึ่งปัจจุบันก็ได้พัฒนามาถึง Core 4 แล้ว
PCLinuxOS
นี้เป็น Linux สายพันธ์ Mandriva ที่เน้นการทำงานแบบ Live CD สำหรับ 2007 นี้ใช้ Kernel 2.6.18.8, KDE 3.5.6, Xorg 7.1.1 และโปรแกรมอื่นๆ ก็เป็นตัวที่ใหม่ๆ ทั้งนั้นครับ (มี Beryl มาให้ด้วย !!!) นอกจากนี้ยังมีระบบ Synaptic ที่ไว้คอยจัดการเรื่องการโปรแกรมต่างๆ (เหมือน Ubuntu) แต่เป็น RPM มาให้พร้อมครับ สำหรับ Driver แบบ Proprietary นั้นตัว Live CD ไม่มีมาให้ครับ แต่ว่าลงเองได้เหมือนกัน
นี้เป็น Linux สายพันธ์ Mandriva ที่เน้นการทำงานแบบ Live CD สำหรับ 2007 นี้ใช้ Kernel 2.6.18.8, KDE 3.5.6, Xorg 7.1.1 และโปรแกรมอื่นๆ ก็เป็นตัวที่ใหม่ๆ ทั้งนั้นครับ (มี Beryl มาให้ด้วย !!!) นอกจากนี้ยังมีระบบ Synaptic ที่ไว้คอยจัดการเรื่องการโปรแกรมต่างๆ (เหมือน Ubuntu) แต่เป็น RPM มาให้พร้อมครับ สำหรับ Driver แบบ Proprietary นั้นตัว Live CD ไม่มีมาให้ครับ แต่ว่าลงเองได้เหมือนกัน
Mandriva One
เป็น LiveCd ที่เป็น OS สามารถบูทส์และทำงานได้จาก CD โดยตรงโดยไม่ต้องมีการติดตั้งก่อนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรต่อระบบ ที่ทำงานอยู่ แต่ถ้าผู้ใช้ต้องการจะติดตั้งลงในฮาร์ดดิสก็สามารถทำได้เช่นกัน จุดเด่นของ Mandriva คือ"Mandriva Control Center" ประกอบไปด้วย urpmi package managementที่ใช้ในการจัดการเรื่องติดตั้ง ย้ายออกอัพเดทเป็นต้นและระบบการจัดการกับกราฟิค รวมถึง nspluginwrapper ซึ่งยอมให้ x86-32 plugins สามารถใช้ได้กับ x89-64 browser และยังมี transfugdrake ที่ออกแบบมาสำหรับการเคลื่อยย้ายข้อมูลและการติดตั้งMicrosoft Windows ไปยัง Linux
pclinux พัฒนามาจาก mandriva เหมือนกับที่ผ่าน ๆ มา mandrake หรือ mandriva นั้นก็เคยพัฒนามาจาก redhat แล้วพัฒนาสายพันธ์ตัวเอง จนกลายเป็นเส้นทางของตัวเองไปในที่สุด และ pclinux ก็ใช้ mandriva เป็นพื้นฐานซึ่งก็ไม่แน่ว่า ต่อไป pclinux กำลังจะเดินทางไปในหนทางของตัวเอง ซึ่งตรงนี้ก็ต้องดูกันต่อไป สำหรับ mandriva นั้น ก็มีลีนุกซ์หลาย ๆ ตัวอยู่เหมือนกันที่ใช้ mandriva เป็นฐาน สำหรับ mandriva นั้น มีตัว คอนโทรล เป็นของตัวเอง ซึ่งใช้ง่ายและ ครอบคลุมการปรับแต่งมากทีเดียว ทั้ง desktop และ server อีกทั้งการใช้งานในภาษาไทย ก้สามารถที่จะใช้ได้ดีพอสมควร และ mandriva ก็สนับสนุนภาษาต่าง ๆ มานาน และก็พัฒนาอยู่ตลอด ครับ และที่แน่ ๆ
เป็น LiveCd ที่เป็น OS สามารถบูทส์และทำงานได้จาก CD โดยตรงโดยไม่ต้องมีการติดตั้งก่อนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรต่อระบบ ที่ทำงานอยู่ แต่ถ้าผู้ใช้ต้องการจะติดตั้งลงในฮาร์ดดิสก็สามารถทำได้เช่นกัน จุดเด่นของ Mandriva คือ"Mandriva Control Center" ประกอบไปด้วย urpmi package managementที่ใช้ในการจัดการเรื่องติดตั้ง ย้ายออกอัพเดทเป็นต้นและระบบการจัดการกับกราฟิค รวมถึง nspluginwrapper ซึ่งยอมให้ x86-32 plugins สามารถใช้ได้กับ x89-64 browser และยังมี transfugdrake ที่ออกแบบมาสำหรับการเคลื่อยย้ายข้อมูลและการติดตั้งMicrosoft Windows ไปยัง Linux
pclinux พัฒนามาจาก mandriva เหมือนกับที่ผ่าน ๆ มา mandrake หรือ mandriva นั้นก็เคยพัฒนามาจาก redhat แล้วพัฒนาสายพันธ์ตัวเอง จนกลายเป็นเส้นทางของตัวเองไปในที่สุด และ pclinux ก็ใช้ mandriva เป็นพื้นฐานซึ่งก็ไม่แน่ว่า ต่อไป pclinux กำลังจะเดินทางไปในหนทางของตัวเอง ซึ่งตรงนี้ก็ต้องดูกันต่อไป สำหรับ mandriva นั้น ก็มีลีนุกซ์หลาย ๆ ตัวอยู่เหมือนกันที่ใช้ mandriva เป็นฐาน สำหรับ mandriva นั้น มีตัว คอนโทรล เป็นของตัวเอง ซึ่งใช้ง่ายและ ครอบคลุมการปรับแต่งมากทีเดียว ทั้ง desktop และ server อีกทั้งการใช้งานในภาษาไทย ก้สามารถที่จะใช้ได้ดีพอสมควร และ mandriva ก็สนับสนุนภาษาต่าง ๆ มานาน และก็พัฒนาอยู่ตลอด ครับ และที่แน่ ๆ
CentOS
เป็น Linux ในระดับ Enterprise ที่มีเป้าหมายหลักในเรื่องของความ stable เพื่อให้ใช้กับงานในระดับองค์กร CentOS แตกต่างจาก Linux ตัวอื่นๆ ที่ค่อนข้างจะมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและมักจะใส่ feature ที่ยังไม่ stable ลงไป ดังนั้นการที่ CentOS โฟกัสในเรื่องของความ stable จึงทำให้ผู้ใช้งานสามารถมุ่งความสนใจลงไปในเรื่องของ application โดยลดความกังวลในส่วนของ Operation System ลงไป CentOS ถูกพัฒนาต่อมาจาก source code ที่ได้รับการเปิดเผยโดยทีมงานผู้เชี่ยวชาญ Enterprise Linux เจ้าหนึ่งในอเมริกาเหนือ กำลังหลักของทีมพัฒนาประกอบขึ้นด้วยผู้เชี่ยวชาญ และความสนับสนุนจาก community ต่างๆ ทั้งด้าน system admin, network admin, enterprise user, manager, core Linux contributors
เป็น Linux ในระดับ Enterprise ที่มีเป้าหมายหลักในเรื่องของความ stable เพื่อให้ใช้กับงานในระดับองค์กร CentOS แตกต่างจาก Linux ตัวอื่นๆ ที่ค่อนข้างจะมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและมักจะใส่ feature ที่ยังไม่ stable ลงไป ดังนั้นการที่ CentOS โฟกัสในเรื่องของความ stable จึงทำให้ผู้ใช้งานสามารถมุ่งความสนใจลงไปในเรื่องของ application โดยลดความกังวลในส่วนของ Operation System ลงไป CentOS ถูกพัฒนาต่อมาจาก source code ที่ได้รับการเปิดเผยโดยทีมงานผู้เชี่ยวชาญ Enterprise Linux เจ้าหนึ่งในอเมริกาเหนือ กำลังหลักของทีมพัฒนาประกอบขึ้นด้วยผู้เชี่ยวชาญ และความสนับสนุนจาก community ต่างๆ ทั้งด้าน system admin, network admin, enterprise user, manager, core Linux contributors
Slackware
เป็นลินิกซ์ตัวแรกๆ ของโลกที่ผลิตมาเพื่อขาย ประวัติของ Slackware คือ บริษัทขายซีดีทางอินเทอร์เน็ตชื่อว่า วอลนัท ครีก ได้รวบรวมโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้งานบนลินิกซ์มาใส่ซีดีขาย เจ้า Slackware นี้มีจุดเด่นตรงความเรียบง่ายของมัน ที่ไม่ค่อยมีอะไรแปลกๆ ใส่มาเหมือนยี่ห้ออื่น แต่ข้อเสียของมันก็คือ เรียบง่ายเกินไป ทำให้ไม่มีเครื่องอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้หน้าใหม่เท่าไรนัก การลงโปรแกรมจะต้องคอมไพล์เอง ไม่มีระบบแพกเกจแบบ RPM มาให้ เหมาะกับผู้ที่มีความรู้ด้านลินิกซ์อยู่พอสมควรเลย ปัจจุบันออกถึงเวอร์ชัน 9.0
เป็นลินิกซ์ตัวแรกๆ ของโลกที่ผลิตมาเพื่อขาย ประวัติของ Slackware คือ บริษัทขายซีดีทางอินเทอร์เน็ตชื่อว่า วอลนัท ครีก ได้รวบรวมโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้งานบนลินิกซ์มาใส่ซีดีขาย เจ้า Slackware นี้มีจุดเด่นตรงความเรียบง่ายของมัน ที่ไม่ค่อยมีอะไรแปลกๆ ใส่มาเหมือนยี่ห้ออื่น แต่ข้อเสียของมันก็คือ เรียบง่ายเกินไป ทำให้ไม่มีเครื่องอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้หน้าใหม่เท่าไรนัก การลงโปรแกรมจะต้องคอมไพล์เอง ไม่มีระบบแพกเกจแบบ RPM มาให้ เหมาะกับผู้ที่มีความรู้ด้านลินิกซ์อยู่พอสมควรเลย ปัจจุบันออกถึงเวอร์ชัน 9.0
OpenSuSE
SuSE เป็น Desktop Linux ที่มีต้นกำเนิดจากเยอรมัน เดิมนั้นทำออกมาขาย(ราคาไม่แพงเท่า win) แต่ตอนนี้แยกออกมาให้ใช้ฟรีภายใต้ชื่อ OpenSuSE เคยอ่านเจอว่า Linus Torvalds ผู้คิดค้น Linux kernel และไอเดียที่นำ Linux มา OpenSource ก็ใช้งานดิสทริบิวชั่นนี้เป็น SuSE อีก Edition หนึ่ง ที่มี novell เป็นสปอนเซอร์ แต่ไม่ซับพอร์ต โดยผู้ที่ซับพอร์ต กลับเป็นผู้ใช้ SuSE เอง ชื่อกลุ่ม SuSE community เรียกว่าดูแลกันเอาเองว่างั้นเถอะ ซึ่งรับประกันได้ว่ามันจะเป็นของฟรี ไปตลอดกาล เพราะมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาน้อย นอกจากนี้ยังมี SLED (SuSE Linux Enterprice Edition
Gentoo Linux
เป็น Source based distribution ใช้ระบบจัดการแพกเกจชื่อ portage (ยัง) ไม่มีตัวติดตั้งแบบ Graphics ต้องติดตั้งโดย Command Line พัฒนาขึ้นครั้งแรกโดย Daniel Robbins ปัจจุบัน Gentoo Foundation ออกใหม่ปีละ 4 รุ่น การนับรุ่น จะใช้รูปแบบ – 2005.0, 2005.1, 2005.2, 2005.3
เป็น Source based distribution ใช้ระบบจัดการแพกเกจชื่อ portage (ยัง) ไม่มีตัวติดตั้งแบบ Graphics ต้องติดตั้งโดย Command Line พัฒนาขึ้นครั้งแรกโดย Daniel Robbins ปัจจุบัน Gentoo Foundation ออกใหม่ปีละ 4 รุ่น การนับรุ่น จะใช้รูปแบบ – 2005.0, 2005.1, 2005.2, 2005.3
จุดเด่น สามารถ Optimize ให้เหมาะกับเครื่องที่รัน เช่น k6, pentium4, athlonxp สามารถปรับแต่งระบบให้เหมาะกับการใช้งาน การอัพเดทแพกเกจค่อนข้างทันสมัย portage เขียนด้วย python ทำางานได้เร็วกว่าports ของ FreeBSD ซึ่งใช้ make มีการพอร์ตไปหลายระบบเช่น ia64, x86_64,ppc, alpha เป็นต้น
จุดด้อย การติดตั้งทำาได้ช้า เนื่องจากต้องดาวน์โหลดซอร์สและคอมไพล์ทั้งระบบ (ทางออก: เลือกการติดตั้งแบบ stage2, stage3 และใช้package สำเร็จ) การติดตั้งต้องใช้ความชำานาญสูง คือต้อง fdisk, mkfs, mount, tar และอื่นๆ ด้วยตัวเอง (ทางออก: กำาลังพัฒนาตัวติดตั้งแบบกราฟิกส์และไดอะล็อก) ต้องใช้เน็ตเวิร์คความเร็วสูงเพื่อดาวน์โหลดซอร์สโค้ด (ทางออก: ใช้ getdelta ช่วยดาวน์โหลดเฉพาะส่วนที่เปลี่ยนไป) ต้องใช้เครื่องกำาลังสูงๆ เพื่อคอมไพล์
จุดด้อย การติดตั้งทำาได้ช้า เนื่องจากต้องดาวน์โหลดซอร์สและคอมไพล์ทั้งระบบ (ทางออก: เลือกการติดตั้งแบบ stage2, stage3 และใช้package สำเร็จ) การติดตั้งต้องใช้ความชำานาญสูง คือต้อง fdisk, mkfs, mount, tar และอื่นๆ ด้วยตัวเอง (ทางออก: กำาลังพัฒนาตัวติดตั้งแบบกราฟิกส์และไดอะล็อก) ต้องใช้เน็ตเวิร์คความเร็วสูงเพื่อดาวน์โหลดซอร์สโค้ด (ทางออก: ใช้ getdelta ช่วยดาวน์โหลดเฉพาะส่วนที่เปลี่ยนไป) ต้องใช้เครื่องกำาลังสูงๆ เพื่อคอมไพล์
Damn small Linux
ไม่ต้องอธิบายมากสำหรับ Linux ตัวนี้ ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็น Linux ขนาดเล็ก เล็กยังไงเหรอ คำตอบก็คือใช้พื้นที่ขนาดเล็ก กิน Resource น้อย ขนาด Boot จาก Flash Drive , หรือใช้ได้แม้ CPU 486 Ram 16 MB ยังได้เลย
ไม่ต้องอธิบายมากสำหรับ Linux ตัวนี้ ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็น Linux ขนาดเล็ก เล็กยังไงเหรอ คำตอบก็คือใช้พื้นที่ขนาดเล็ก กิน Resource น้อย ขนาด Boot จาก Flash Drive , หรือใช้ได้แม้ CPU 486 Ram 16 MB ยังได้เลย
Puppy Linux
เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ลีนุกซ์เป็นแกนการพัฒนา แต่ว่าผู้พัฒนาตั้งใจว่าจะให้มีขนาดไม่ใหญ่มากนักและมีอินเตอร์เฟซที่สวยงาม น่ารัก จึงตั้งชื่อว่า Puppy อันหมายถึงน้องหมาหรือลูกหมา ขนาดของมันก็ต้องเล็กสมชื่อ เอาเป็นว่าในเวอร์ชั่นล่าสุดคือ Puppy Linux Dingo 4.0 มีขนาดไฟล์ .iso ให้ดาวน์โหลดอยู่ประมาณ 89 Mb ครับ ไม่ต้องเอาไปเทียบกับวินโดวส์ครับเพราะผิดกันเยอะ แต่ Puppy Linux ของเรามีโปรแกรมมาให้ใช้งานครบทุกด้าน โดยที่ติดมากับแพคเกจมาตรฐานมีทั้งเวิร์ดโปรเซสเซอร์ สเปรดชีท กราฟิก มัลติมีเดีย และโปรแกรมด้านการใช้งานอินเตอร์เนตด้านต่างๆครบ อีกอย่างคือ Puppy Linux นั้นสื่อสารกับผู้ใช้ด้วยกราฟิกอินเตอร์เฟสเหมือนกันกับวินโดวส์ แถมดีกว่าวินโดวส์ตรงที่ Puppy Linux รู้จักอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์มากกว่าเสียด้วย
เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้ลีนุกซ์เป็นแกนการพัฒนา แต่ว่าผู้พัฒนาตั้งใจว่าจะให้มีขนาดไม่ใหญ่มากนักและมีอินเตอร์เฟซที่สวยงาม น่ารัก จึงตั้งชื่อว่า Puppy อันหมายถึงน้องหมาหรือลูกหมา ขนาดของมันก็ต้องเล็กสมชื่อ เอาเป็นว่าในเวอร์ชั่นล่าสุดคือ Puppy Linux Dingo 4.0 มีขนาดไฟล์ .iso ให้ดาวน์โหลดอยู่ประมาณ 89 Mb ครับ ไม่ต้องเอาไปเทียบกับวินโดวส์ครับเพราะผิดกันเยอะ แต่ Puppy Linux ของเรามีโปรแกรมมาให้ใช้งานครบทุกด้าน โดยที่ติดมากับแพคเกจมาตรฐานมีทั้งเวิร์ดโปรเซสเซอร์ สเปรดชีท กราฟิก มัลติมีเดีย และโปรแกรมด้านการใช้งานอินเตอร์เนตด้านต่างๆครบ อีกอย่างคือ Puppy Linux นั้นสื่อสารกับผู้ใช้ด้วยกราฟิกอินเตอร์เฟสเหมือนกันกับวินโดวส์ แถมดีกว่าวินโดวส์ตรงที่ Puppy Linux รู้จักอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์มากกว่าเสียด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น